วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557



บันทึกอนุทิน
วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 20 ตุลาคม 2557
เวลาเรียน 08.30น.เวลาเลิกเรียน 14.00 น.
เวลาเข้าสอน 11.30 น.


กิจกรรมวันนี้
       สำหรับวันนี้อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ในเด็กสมาธิสั้นและเด็กพิการซ้อนโดยอาจารย์ได้แจกชีลให้กับนักศึกษาพร้อมเปิดเพาเวอร์พอยด์อธิบายอย่างช้าๆและชัดเจน

1.เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์

  • มีความรู้สึกนึกคิดที่ผิดไปจากปกติ
  • แสดงออกถึงความต้องการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
  • มีความเชื่อมั่นในตนเองต่ำ
  • เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆไม่ได้
  • เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
  • ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
  • ความวิตกกังวล(Anxiety)ซึ่งทำให้เด็กมีนิสัยขี้กลัว
  • ภาวะซึมเศร้า(Depreeion)มีความเศร้าในระดับที่สูงเกินไป
  • ปัญหาทางสุขภาพและขาดแรงกระตุ้นหรือความหวังในชีวิต
   การจำแนกเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ตามกลุ่มอาการพร้อมสาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก มีดังนี้



      ส่วนเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
  • เด็กสมาธิสั้น(Children With Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
            
  • เด็กออทิสติก(Autistic)หรือ ออทิสซึ่ม (Autisum)

   สำหรับเด็กสมาธิสั้นมีลักษณะ สาเหตุ และยารักษาโรคที่มีใช้ในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้


2.เด็กพิการซ้อน(Children With Multiple Hendicaps)
  • เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
  • เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
  • เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
  • เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด


การนำไปประยุกต์ใช้
    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะและกลุ่มอาการของเด็กแต่ละโรคและรู้ถึงวิธีการรักษาจึงทำให้เรามีความรู้ในส่วนนี้ในอนาคตข้างหน้าเราก็นำเอาความรู้ที่ได้จากวิชานี้ไปปรับใช้ให้กับเด็กที่มีกลุ่มอาการต่างๆโดยเป็นการทำความเข้าใจหรือช่วยเหลือเด็กเบื้องต้น
ประเมินตนเอง
แต่งการเรียบร้อยและตั้งใจฟังอาจารย์สอนเพราะอาจารย์มีเทคนิคในการรสอนที่ทำให้ไม่น่าเบื่อในการเรียน
ประเมินเพื่อน
แต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีเทคนิคในการสอนทำให้การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ สนุกสนานและเข้าใจเพราะอาจารย์อธิบายพร้อมยกตัวอย่างในแต่ละอาการ









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น